You're Welcome To My Blog

วันจันทร์ที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 16
วันที่ 22 พฤศจิกายน 2559



บรรยากาศในห้องเรียน

 วันนี้แต่ละกลุ่มนำเสนอกิจกรรมที่แต่ละกลุ่มได้วันแต่ละวันมาบูรณาการผ่านศาสตร์ต่างๆ และนำ STEM เข้ามาจัดกิจกรรมให้สอดคล้องกัน
 เริ่มจาก วันจันทร์ หน่วยไก่



เริ่มแรก จากที่เพื่อนสอนคำคล้องจอง (ประเภท)
แล้วก็ใช้คำถามกับเด็ก ว่า มีไก่อะไรในคำคล้องจองนี้บ้าง แล้วเด็กๆรู้จักไก่อะไรบ้งนอกจากในคำคล้องจอง เสร็จแล้วเพื่อนก็ให้ทำกิจกรรม หยิบไก่ขึ้นมาและให้ เด็กตอบว่าคือไก่อะไร แล้วมา แบ่งจำนวน และแบ่งประเภทไก่นั้นๆ จะเชื่อมโยงกับคณิตศาสตร์ เรือง การแบ่งง แย่งแยะ
การมีตัวเลขกำกับอีกด้วย




วันอังคาร หน่วยนม (ลักษณะ)


เพื่อนก็จะให้เด็กๆร้องเพลง นม แล้ว จะมีตารางมาเพื่อให้เด็กๆคิด วิเคราะห์ว่า นม อะไร มาจากอะไร มีสีอะไร มีรสชาด อย่างไร แล้วทำตาราง ดูความเหมือน และความแตกต่าง แล้วถามเด็ก อีกรอบว่ามีตรงไหนเหมือนกัน มีความต่างตรงไหน


วันพุธ หน่วยข้าว ( กลุ่มดิฉัน) (การดูแลรักษา)


ทำน้ำหมัก
โดย ขั้นแรกจะใช้สื่อ

 คำคล้องจอง เรื่องข้าว
            การทำนาข้าว        ชาวนาต้องไถ
หว่านเมล็ดลงไป        ไขน้ำเข้านา
  หรือโดยปักตำ             เพาะชำต้นกล้า
        ใส่ปุ๋ยใส่ยา                 ถอนหญ้าออกเลย



ต่อด้วยใช้คำถามกับเด็กๆ ว่าการทำนาข้าว ชาวนาทำอะไรบ้าง เด็กก็จะตอบภายในคำคล้องจอง
แล้วถามเด็กๆต่อว่า และมีอะไรนอกเหนือจากในนี้ที่เด็กๆรู้มั้ย เด็กก็จะตอบ
โดยจะมีเพื่อนในกลุ่มคอยจดรายละเอียดต่างๆที่เด็กๆหรืเพื่อนๆตอบมา

พอเสร็จแล้วก็บอกเด็กว่าวันนี้จะพาทำน้ำหมักที่ใช้กำจัดเมลงและศัตรูพืช
โดย จะมีการทำตารางแนะนำวัสดุ อุปกรณ์ และ วิธีทำให้ดู
โดยน้ำหมักจะใช้สูตร
น้ำหมักสมุนไพร 

ส่วนผสม : เมล็ดสะเดา 2 ก.ก 

หัวข่าแก่ 1 ก.ก. 
ตะไคร้หอม 1 ก.ก. 
น้ำหมักชีวภาพ 10 ลิตร
วิธีทำ : นำส่วนผสมมาผสมรวมกัน
การใช้ประโยชน์ : ป้องกันเพลี้ยอ่อน หนอนใยผัก หนอนกระทู้ หนอนคืบ เพลี้ยไฟในถั่วฝักยาว ถั่วพู แค คะน้า ฯลฯ


พออธิบายวิธีการทำเสร็จเรียบร้อยแล้ว จากนั้น ครูก็จะสาธิตวิธีการทำน้ำหมัก โดยจะมีการให้เด็กๆออกมามีส่วนร่วม



จากนั้นก็แบ่งเด็ก ออกเป็น 2 กลุ่มแล้วก็แจกวัสดุ อุปกรณ์ และมีครูของอยู่ดูแต่ละกลุ่ม





จากนั้น ก็สรุปวิธีการทำ โดยครูกับเด็กร่วมกันสรุปว่า การทำน้ำหมักมีอะไรบ้าง ใช้เพื่ออะไร

วันพฤหัสบดี หน่วย กล้วย (ประโยชน์และโทษ)

ขั้นตอนแรกกลุ่มนี้ ใช้คือการเล่านิทาน นิทาน เรื่องกล้วยๆของหนูนิด โดยในนิทานจะมีทั้ง ประโยชน์ และโทษ พอเล่านิทานจบแล้ว เพื่อนก็จะใช้คำถามเด็กๆว่าเด็กๆรู้ไหมว่าประโยชน์ของกล้วยมีอะไรบ้าง และ โทษหรือข้อควรระวังมีอะไรบ้าง  แล้วครูก็จะบันทึกความตอบเด็กลงในแผ่นชาต และแยกระหว่าง ประโยชน์ของ กล้วย และโทษของกล้วย 



วันศุกร์ หน่วยน้ำ ( Cooking )


น้ำอัญชัน
โดยครูจะจัดฐานไว้ทั้งหมด 4 ฐาน
1. ล้างดอกอัญชัน
2. คั้นน้ำออกจากดอกอัญชัน
3. ต้มน้ำดอกอัญชัน
4.ผสมและปรุงรส









วันพุธ อีกวัน หน่วย ส้ม (การถนอม)


ขั้นแรก เริ่มจากการเล่นเกมการศึกษา ภาพตัดต่อรูปส้ม



จากนั้นครูจะใช้คำถามกับเด็กว่า เด็กๆรู้ไหมว่าทำอย่างไรจะเก็บส้มไว้ได้นานๆ จากนั้นครูนำส้มสดับส้มเชื่อมมาให้เด็กๆลองชิม เพื่อ รับรู้ถึงความแตกต่างระหว่างส้มสด กับ ส้มเชื่อม



จากนั้นก็ให้เด็กๆ นำสติเก้อไปแปะ ตรงตารางเปรียบเทียบว่าเด็กๆชอบส้มไหนมากว่ากัน ระหว่างส้มสด กับส้มเชื่อม


ผลปรากฎว่า เท่ากัน โดยครูจะ ทำให้เห็นภาพโดยการเชื่อมโยงลูกต่อลูก

ต่อมาก็พูดถึงเมล็ด ใช้เมล็ดส้มในการทำสื่ออะไรได้บ้าง โดยเปิดคลิป ของเล่นวิทยาศาสตร์ ขวดบ้าพลังเป็นตัวอย่าง


จากนั้นครูก็อธิบายขั้นตอนและให้เด็กๆประดิษฐ์ ขวดบ้าพลังขึ้นมา



จากนั้นก็ลงมือประดิษฐ์ แล้ว ก็นำมาแข่งกันว่าขวดของใคร จะเป่าให้เม็ดส้มไปไกลมากกว่ากัน


ผลปรากฏออกมาว่า แต้นนนนน.....
มีเพื่อนที่ทำให้ไปไกล และไม่ไปเลย


และจากนั้นครูก็มาช่วยกันสรุปว่า เพราะอะไร ทำไม เพื่อนคนนี้ไปไกลมากที่สุดเกิดจากมีขนาดใหญ่สามารถเก็บอากาศได้เยอะ ส่วนคนนี้ได้น้อยหรือไม่ไปเลยเป็นเพราะว่า ขวดนั้นมีรอยขาดหรือรัวทำให้อากาศรอดออกไปได้นั้นเอง

ทักษะ
-การคิด
- การวิเคราะห์
- การแสดงความคิดเห็น
- ความรับผิดชอบ
- การสังเกต
- การทำงานเป็นทีม
- การลงมือทำ
- ภาษา
- วิทยาศาสตร์
- คณิตศาสตร์
- ศิลปะ

คำศัพท์
วัสดุอุปกรณ์           = Equipment
การเตรียมตัว         = Prepare
ความรับผิดชอบ     = Responsibility
การลงมือทำ           = Launching
การสรุป                  = Summary 

การนำไปใช้
 ได้นำความรู้จากการจัดกิจกรรมไปใช้และได้เรียนรู้การเขรยนแผนแต่ละวันอย่างถูกต้องและเป็นกระบวนการ ได้ทักษะต่างๆมากยิ่งขึ้นเช่น การวางแผน การสอน ขั้นตอน และเทคนิคต่างๆในการสอน และการใช้คำถามต่างๆเพื่อให้เด็กเกิดกระบวนการคิด และสามารถเรียนรู้การเขียนแผนและการจัดกิจกรรมที่หลายหลากรูปแบบอีกด้วยเพื่อที่จำนำไปปรับใช้ได้จริง

การประเมิน
ประเมินตนเอง ได้มีส่วนร่วมกับกิจกรรมต่างๆของเพื่อน มีความรับผิดชอบในการงานของตนเอง ได้ทดลองสอน ได้มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นต่างๆ และปฏิบัติให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆอย่างเต็มที่
ประเมินเพื่อน
เพื่อนแต่ละคนเตรียมตัวในการสอนมาอย่างดี และ มีส่วนร่วมให้ความร่วมมือกับกิจกรรมต่างๆ อย่างเต็มที่
ประเมินอาจารย์
อาจารย์เปิดโอกาศให้นักศึกษาได้สอน และให้คำแนะนำกับนักศึกษาอย่างละเอียดส่วนไหนดีส่วนไหนที่ต้องเเก้ไขปรับปรุง เพิมเติม เพื่อที่จะให้นักศึกษานำคำแนะนำต่างๆเหล่านี้มาปรับใช้อย่างถูกต้อง







  



วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 15
วันที่  15 พฤศจิกายน 2559



บรรยากาศในห้องเรียน
วันนี้อาจารย์แจกใบ แผนการเรียนมาให้แต่ละกลุ่มคิดแต่ละวันของคนนั้นในหน่วยของแต่ละกลุ่ม หน่วยข้าว  
 วันจันทร์ จะสอน   เรื่อง ประเภทของข้าว
วันอังคาร จะสอน  เรื่อง ลักษณะของข้าว
      วันพุธ จะสอน       เรื่อง การดูแลรักษาข้าว 
              วันพฤหัสบดี จะสอน  เรื่อง  ประโยชน์และโทษของข้าว
          วันศุกร์ จะสอน  เรื่อง  ประโยชน์ของข้าว

ซึ่งกิจกรรมของที่เพื่อนในกลุ่มคิดและช่วยกันเลือกกิจกรรมปรึกษากันอย่างดีแล้วก็ได้ กิจกรรม ดังนี้
วันจันทร์ ประเภทของข้าว จะสอนเกี่ยวกับ การยกตัวอย่างข้าวเจ้า กับ ข้าวเหนียว
วันอังคาร ลักษณะของข้าว จะสอนเกี่ยวกับ การทำตารางและเปรียบเทียบระหว่าง ข้าวเข้า กับข้าวเหนียว
วันพุธ การดูแลรักษา จะสอนเกี่ยวกับการทำน้ำหมักที่ใช้ไร้แมลงในต้นข้าว
วันพฤหัสบดี ประโยชน์และโทษ จะเป็นการเล่านิทาน
วันศุกร์ จะสอน เกี่ยวกับการทำ Cooking
และอาจารย์ก็ให้เขียนแผนขึ้นมา โดนมีเพื่อนมาบอกว่าวันแต่ละวันทำอย่างไรและมีอาจารย์คอยแนะนำและเสริม



และจากนั้น ก็จับฉลากว่าอาทิตย์หน้า กลุ่มไหนจะสอนเรื่องอะไร กลุ่มดิฉันได้ วันพุธคือการดูแลรักษาต้นข้าว โดยจะสอนทำน้ำหมักชีวภาพเพื่อกำจัดศัตรูพืช
กลุ่มเราเลือก สูตร
น้ำหมักสมุนไพร 
3.1 พืชผักสวนครัว
ส่วนผสม : เมล็ดสะเดา 2 ก.ก หัวข่าแก่ 1 ก.ก. ตะไคร้หอม 1 ก.ก. และน้ำหมักชีวภาพ 10 ลิตร
วิธีทำ : นำส่วนผสมมาผสมรวมกัน
การใช้ประโยชน์ : ป้องกันเพลี้ยอ่อน หนอนใยผัก หนอนกระทู้ หนอนคืบ เพลี้ยไฟในถั่วฝักยาว ถั่วพู แค คะน้า ฯลฯ







 คำศัพท์  

ข้าว          =  rice
ผัก          =  Vegetable
ตะไคร้        =  Lemom grass
น้ำหมักชีวภาพ   =  Bological fermentation
จับฉลาก       =  Draw lots


การประเมิน

ประเมินตัวเอง
มีความรับผิดชอบในการเขียนแผนที่ครูให้ไว้และฟังอาจารย์อธิบายวิธีการเขียนอย่างจดจ่อ
ประเมินเพื่อน
เพื่อนอธิบาแผนแต่ละวันได้ดีมาก มีความรับผิดชอบและตั้งใจทำงานของตนจนเสร็จ
ประเมินอาจารย์
อาจารย์ได้อธิบายการเขียนแผนได้อย่างชัดเจนมีระบบและระเบียบที่เราสามารถเข้าใจและนำไปใช้ได้







           


ครั้งที่ 14
วันที่ 8 พฤศจิกายน 2559





บรรยากาศในห้อง
   วันนี้มาเข้าร่วมกิจกรรม สาธิตการสอนการเคลื่อนไหวและจังหวะ ให้คณะดูงานจากประเทศ Austria
วันนี้ดิฉันได้รับมอบหมายเป็นพิธีกรกล่าววิธีการสอนตอนจบ


โดยการสอนกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะวันนี้ อาจารย์ใช้   หน่วยผีเสื้อ











This is a major subject  for early childhood education program .
Moment experience management  for early childhood . Moment activity is one of the most important aspect for a young child . Most early interactions involve movements and Movement can help childen develop not only physical but emotional social and cognitive as well
and then our teacher always use role play  and practical demonstration in the classroom 
First step is the basic movement by  uscing   to rhythm pattern from the teacher.
Second step is to move with a song  '' fly fly fly the butterfly ''
  Last step is relaxation by  meditation with flower bloom song.

ตอนแรกจะเป็นขั้นเกิ่นก่อนว่าเป็นวิชา การศึกษาปฐมวัย  และก็บอกเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและจังหวะว่าไม่ได้ช่วยด้านร่างกายอย่างเดียว แต่ช่วยทั้ง รายการ สังคม อารมณ์ และสติปัญาก็ก็ได้อธิบาขั้นตอนการสอน
ขั้นที่ 1 เป็นพื้นฐานของการสอนคือให้ฟังเสียงดนตรีที่เป็นจังหวะและเคลื่อนไหวตามเสียง
ขั้นที่  2 คือ การที่เราเคลื่อนไหวประกอบเพลง
ขั้นสุดท้าย คือ การผ่อนคลาย ทำสมาธิไปกับเพลง