You're Welcome To My Blog

วันอาทิตย์ที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559

ครั้งที่ 11
วันที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2559



บรรยากาศในห้องเรียน

            อาจารยืให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอของเล่นยวิทยาศาสตร์ที่นำมา

กลุ่มที่ 1. ออกมานำเสนอ
ชื่อของเล่น นาฬิกาธรรมชาติ

เพื่อนทำคล้ายๆกับนาฬิกาทราย แต่จะมี 3 รูปแบบ เพื่อที่จะมีการเปรียบเทียบ ที่เพื่อนทำจะมี รุปแบบน้ำ
 รูปแบบทราย รูปแบบน้ำมัน  ทั้ง 3 ขวดมีเวลา 30 วินาที แต่พอทำพร้อมกันเพื่อเปรียบเทียบเวลาว่าเท่ากันหรือไม่ ผลปรากฏออกมาว่าแต่ละขวดใช้เวลาไม่เท่ากันหรือต่างกันนั้นเอง

กลุ่มที่ 2. ตุ้กตาเริงระบำ กลุ่มดิฉันเอง

ตุ้กตาเริ่งระบำ หรือ เรียกอีกอย่างว่า  Homopolar Motor  อย่างง่าย  การทำงานของมัน คือใช้ ถ่าน แม่เหล็ก ลวด  การทำงานคือจะเกิดสนามแม่เหล้กขึ้นจากแม่เหล็กที่ห้อยอยู่ด้านล่างไฟฉาย จะเกิดแรงผลักกันกับเส้นลวด หรือสายไฟขนาดเล็ก ที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านอยู่ จึงทำให้ลวดหมุ่นรอบถ่ายไฟฉายนั้นเอง

กลุ่มที่ 3 วงโคจรรอบโลก


เป็นการจำลองการหมุนของดวงอาทิตย์ผ่านดาวต่างๆ

กลุ่มที่ 4 ทวินเพลส

เป็นการที่เราดัดลวดเป็นเกลียวๆ แล้วปล่อยเหล็กลงมา เล็กก็จะหมุนตามขดลวดที่เราดัด

กลุ่มที่ 5 กล่องสุริยะจักวาล

เป็นระบบสุริยะจักวาลที่จำลองขึ้นมา โดยเพื่อนใช้กล่องกระดาษและติดด้วยกระดาษสีดำเพื่อให้ภายใยกล่องมืด แล้วมีไฟขนาดเล็ก และมีรูที่สามารถส่องผ่านแล้วมองเห็น ดวงดาวต่างๆได้ เกี่ยวกับเรื่อ ดาราศาสตร์

 กลุ่มที่  6 ผีเสื้อเริงระบำ
มีเสื้อเริงระบำนี้จะใช้การทำงานของแม่เหล้กเหมือนกัน โดยใช้คุณสมบัติของ แรงดึงดูด ขั้ว ลบ กับ ขั้ว บวก

กลุ่มที่ 7 ลานหรรษา

เพื่อนนำเป็นลานของเล่นแล้วมีสไลเดอร์ ที่สามารถปล่อยลูกแก้วลงมาเพื่อสามารถความเปรียบเทียบได้ เพื่อนจึงมีช่องสไลเดอร์ 3 ช่อง และแต่ละช่องจะมีพื้นผิวต่างกัน เช่น เรียบ ขรุขระ เป็นต้น

กลุ่มที่ 8 ไข่มหัศจรรย์

ไข่นี้จะมีสีที่แตกต่างกันออกไป และในไข่พอเขย่วแล้วเสียงจะต่างกัน เพราะในนั้นจะใส่สิ่งของต่างๆลงไป เช่น ถั่วเขียว ทราย เป็นต้น เพื่อให้เด็กได้ทายว่ามันคืออะไรนั้นเอง

กลุ่มที่ 9 ภาพใต้น้ำ
อันนี้เพื่อนจะมีขวดน้ำอยู่2ขวด แล้วมีถุงพลาสติกกางไว้ แล้วนำสิ่งของใส่ใต้ขวด โดยขวดน้ำ 1 ขวดจะใส่น้ำตรงถุงพลาสติก แล้ว สิ่งของของขวดที่มีน้ำจะมีขนาดใหญ่กว่าที่ไม่มี

หลังจากนั้นอาจารย์ก็ให้จำกลุ่มเช่นเคย 5 คน แล้วแจกกระดาษแต่ละ


พอแจกเสร็จแล้วหลังจากนั้นให้เพื่อนๆในกลุ่มช่วยกันระดมความคิด  ว่ากลุ่มตนเอง จะเอาหน่วยอะไร โดยมีหัวข้อคือ
- ประเภท ชนิด สายพันธ์
-ลักษณะ
-การดูแลรักษา การถนอม การแปรรูป หรือ การดำเนินชีวิต
-ประโยชน์
-ข้อควรระวัง โทษ
พอเลือกหน่วยได้เเล้วจึงทำมายแมบลงไปแล้วนำเสนอหน้าชั้นเรียน



คำศัพท์
ดาราศาสตร์            = Astronomy
ธรรมชาติ                = Nature
ข้อควรระวัง            = Caution  
ประโยชน์                = Benefit
ระบบสุริยะจักวาล    =Definition




การนำไปใช้
ได้ความรู้เกี่ยวกับสื่อหรือของเล่นที่หลากหลายจากเพื่อน และได้เรียนรู้หลายอย่าง เช่น เรื่องแม่เหล็ก เรื่องกระแสไฟฟ้า เรื่องแรงโน้มถ่วง หรือเรื่องดาราศาสตร์ และสามารถนำความรู้และสื่อของเล่นเหล่านี้ไปประยุกต์ใช้ได้

การประเมิน
ประเมินตนเอง
ตั้งใจฟังที่อาจารยืสอน และตั้งใจฟังที่เพื่อนๆ นำเสนอ ของเล่นต่าง มีส่วนร่วมในการตอบปัยหาและแสดงความคิดเห็น มีความรับผิดชอบในการทำงาน
ประเมินเพื่อน
เพื่อนมีความตั้งใจในการทำงานอย่างดี และมีส่วนร่วมทุกกิจกรรม 
ประเมินอาจารย์
อาจารย์มีความพร้อมในการเตรียมการเรียนการสอนอย่างดี และมีเทคนิคที่หลายหลากในการสอน





                                                                                
                                                                                                     



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น